แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566 – 2570

ด้วยพระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2562 มาตรา 44(3) กำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มีหน้าที่และอำนาจ จัดทำนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เพื่อกำหนดและกำกับทิศทางในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการพัฒนาประเทศ

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดทำแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้จัดทำแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2566-2570 โดยใช้แนวทางตามกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. 2566-2570 โดยให้ความสำคัญกับการนำวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเป็นกลไกสำคัญที่ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน และมีศักยภาพเพียงพอในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง พร้อมรองรับความท้าทายใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ โดยมุ่งเน้นให้ คนไทยมีสมรรถนะและทักษะสูง เพียงพอในการพลิกโฉมประเทศให้ยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน เศรษฐกิจไทยมีความสามารถในการแข่งขันด้วยเศรษฐกิจสร้างคุณค่าและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพิ่มความมั่นคงของเศรษฐกิจฐานราก และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนพร้อมสู่อนาคต และสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างยั่งยืนสามารถแก้ปัญหาท้าทายของสังคมและสิ่งแวดล้อม ปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก

แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566 – 2570 โดยท่านสามารถดาวน์โหลด (ฉบับสมบูรณ์) อ่าน และ ทำความเข้าใจได้ที่ QR Code บนภาพ หรือคลิกเพื่อ PDF Pic ดาวน์โหลดเอกสาร

หรืออ่านเอกสารสรุปสาระสำคัญแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566 – 2570 PDF Pic ดาวน์โหลดเอกสารสรุปสาระสำคัญ

 

รูปแบบอ้างอิงเอกสารฉบับนี้ :

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาวตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). (2022). แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566—2570. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาวตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). https://www.tsri.or.th/content/31/thailand-sri-plan/

การจำแนกหมวดหมู่ของผลงานตีพิมพ์ใน SciVal

ใน SciVal นอกจากจะจำแนกหมวดหมู่ผลงานตีพิมพ์ตามการจัดกลุ่ม ASJC (All Science Journal Classification) ที่ใช้ในฐานข้อมูล Scopus แล้ว ยังสามารถจำแนกตามการจัดกลุ่มที่ใช้ใน QS World University Rankings, THE World University Rankings, Frascati Manual of the Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) และอื่นๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานในการวิเคราะห์และรายงานข้อมูลหมวดหมู่ผลงานตีพิมพ์ตามการจัดกลุ่มที่ใช้ในแหล่งอ้างอิงที่แตกต่างกัน

นอกจากนี้ ยังมี map หมวดหมู่ผลงานตีพิมพ์ตามการจัดกลุ่ม ASJC (All Science Journal Classification) ที่ใช้ในฐานข้อมูล Scopus กับหมวดหมู่ผลงานตีพิมพ์ตามการจัดกลุ่มต่างๆ ในรูปแบบ Excel sheet ให้ดาวน์โหลด ดังนี้

Read more

Digital Transformation Review

รายงาน Use Case ของการทำ Digital Transformation ในหลากหลาย Sector

 

รูปแบบอ้างอิงเอกสารฉบับนี้ :

Hochet, X., Toombs, K., Bonnet, D., & Buvat, J. (2014). Crafting a Compelling Digital Customer Experience. Capgemini Consulting, 77.

How to Win with Digital A Playbook for Successful Digital Transformation

Many organizations, especially large ones, are struggling to implement and drive their digital transformations. In fact, only about a third of large-scale digital transformation efforts succeed. No wonder, considering the multitude of external and internal pressures and complexities that have to be addressed. External pressures snowball at the rapid pace of technological progress and corresponding changes in customer behavior. Internal legacy, complexity, stakeholders and the organization’s cultural identity often feel like a static, solid hindrance that desperately needs to be broken down and put in motion.

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

Knowledge Graphs

Graph data has become ubiquitous in the last decade. Graphs underpin everything from consumer-facing systems like navigation and social networks, to critical infrastructure like supply chains and policing. A consistent theme has emerged that applying knowledge in context is the single most powerful tool that most businesses have. Through research and experience, a set of patterns and practices called knowledge graphs has been developed to support extracting knowledge from data.

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

A Toolkit by Any Other Name

What is in a name? Would a toolkit by any other name seem as useful? In this post, I delve into what comprises innovation “toolkits”—and make a stab at classifying them. What is the difference between a playbook and a manual? This taxonomy development is a step in building our resource to help public sector innovators navigate, sequence, and tweak tools and methods to facilitate their innovation journeys.

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

An Enterprise Architecture Framework for Digital Transformation

The Digital Transformation era has unlocked unique opportunities for organizations to disrupt and innovate with new products and services by leveraging novel emerging technologies such as mobile computing, big data analytics, cloud computing, and the internet of things. The range of possibilities provided by Digital Transformations comes at the expense of constant change across multiple levels of the enterprise including organizational structures, operational processes, business strategies, and even corporate culture. In addition, highly competitive market conditions introduced by the new digital era have forced organizations to react quicker than ever before, pressuring organizations to employ faster learning cycles that translate into shorter time-tomarket strategies. Lastly, Digital Transformations revolutionize the way in which IT andbusiness units collaborate where extremely cohesive teams are expected to continuously innovate and deliver solutions that result in enhanced customer journeys and experiences driven by new corporate cultures.

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

Data & Analytics center of Excellence PlayBook

Building mature data analytics organizations across government is a necessary step to achieve the Cross-Agency Priority (CAP) goal. Leveraging data as a strategic asset will increase the federal government’s effectiveness, facilitate oversight, and promote
transparency.