จาก ISIC Rev. 3 สู่ Rev. 4: ผลกระทบต่อการจัดทำข้อมูลของ ธปท.

การจัดประเภทธุรกิจตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (International Standard Industrial Classification of All Economic Activities : ISIC) เป็นมาตรฐานการจัดหมวดหมู่ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจซึ่งจัดทำโดย United Nations Statistics Division (UNSD) เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกใช้อ้างอิงในการจัดจำแนกข้อมูลสถิติเพื่อให้สามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างประเทศได้

สำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำนักเลขาธิการอาเซียนได้นำ ISIC มาเป็นกรอบในการจัดทำ ASEAN Common Industrial Classification (ACIC) เพื่อให้ประเทศสมาชิกอาเซียนใช้เป็นมาตรฐานการจัดประเภท ธุรกิจร่วมกัน ดังนั้น เมื่อสำนักงานสถิติแห่งชาติร่วมกับกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน จัดทำ Thailand Standard Industrial Classification (TSIC) ขึ้นเพื่อใช้เป็น national classification นั้น จึงได้อ้างอิงจาก ACIC ด้วยเพื่อข้อมูลที่หน่วยงานราชการต่างๆ จัดทำและเผยแพร่นั้น สอดคล้องและใช้เปรียบเทียบข้อมูลกับประเทศสมาชิกอื่นได้

PDF Pic

 

เอกสารที่เกี่ยวข้อง : 

ISIC-BOT Code Rev 4 add mark SME_551225

รูปแบบอ้างอิงเอกสารฉบับนี้ :

ปุณฑริก ศุภอมรกุล & อังสุปาลี วัชราเกียรติ. (2554). จาก ISIC Rev. 3 สู่ Rev. 4: ผลกระทบต่อการจัดทำข้อมูลของ ธปท. ธนาคารแห่งประเทศไทย.

ระบบราชการ 4.0 กับการสร้างนวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการภาครัฐ

ระบบราชการ 4.0 กับการสร้างนวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการภาครัฐ โดยศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร.

ดาวน์โหลดเอกสาร

รูปแบบอ้างอิงเอกสารฉบับนี้ :

ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2560). ระบบราชการ 4.0 กับ การสร้างนวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการภาครัฐ. เลขาธิการ ก.พ.ร. https://www.dpe.go.th/manual-files-401291791810

สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542

สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542
จัดทำเผยแพร่โดยศูนย์ข้อมูลกฎหมายกลาง
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

website : http://web.krisdika.go.th/data/lawabout/lawdetail/lawdetail_002.htm