Driving Digital Transformation in Higher Education

Digital transformation (Dx) is more than merely migrating paper records to a computer, and it is more than adopting technologies to perform business operations faster and more efficiently. As we at EDUCAUSE define it, Dx is “a series of deep and coordinated culture, workforce, and technology shifts that enable new educational and operating models and transform an institution’s business model, strategic directions, and value proposition.”1 Dx runs wide and deep across the whole institution, requiring innovative leadership at all levels, as well as advanced cross-unit coordination. And it demands flexibility and agility that will stretch higher education beyond the comforts of its traditions.

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

 

Government data management for the digital age

Digital society’s lifeblood is data—and governments have lots of data, representing a significant latent source of value for both the public and private sectors.1 If used effectively, and keeping in mind ever-increasing requirements with regard to data protection and data privacy, data can simplify delivery of public services, reduce fraud and human error, and catalyze massive operational efficiencies.

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

Read more

ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ….

ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ….

ดูทิศทาง/การกำกับดูแล/ความเกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการศึกษา ร่างฯ ที่ สคก. ตรวจพิจารณาแล้ว
เรื่องเสร็จที่ ๓๓๔/๒๕๖๒

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

เว็บไซต์ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 

เป็นข้อมูลประกอบอำนาจหน้าที่ภารกิจของ ศทก. ว่าซ้ำซ้อนกับ สถาบันเทคโนโลยีดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการศึกษา หรือไม่

การกำหนดหลักเกณฑ์ ลักษณะหน่วยงานที่มีภารกิจหรือให้บริการเป็นหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ และการมอบหมายการควบคุมและกำกับดูแล

ประกาศคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์ ลักษณะหน่วยงานที่มีภารกิจหรือให้บริการเป็นหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ และการมอบหมายการควบคุมและกำกับดูแล พ.ศ. 2564

หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการควบคุมและกำกับดูแลด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แก่หน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ

  • ด้านความมั่นคงของรัฐ – สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
  • ด้านบริการภาครัฐที่สำคัญ – กระทรวงการคลัง, กรมศุลกากร, กรมการปกครอง, สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน), กรมชลประทาน
  • ด้านการเงินการธนาคาร – ธนาคารแห่งประเทศไทย, สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
  • ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม – สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
  • ด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ – สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, กรมการขนส่งทางราง, สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม, สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
  • ด้านพลังงานและสาธารณูปโภค – กระทรวงพลังงาน, การประปาส่วนภูมิภาค (เฉพาะบริการส่วนภูมิภาค)

ด้านสาธารณสุข – สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

ลักษณะ หน้าที่และความรับผิดชอบของศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ และภารกิจหรือให้บริการที่เกี่ยวข้อง

ประกาศคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ เรื่อง ลักษณะ หน้าที่และความรับผิดชอบของศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ และภารกิจหรือให้บริการที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2564

ให้หน่วยงานของรัฐที่มีความพร้อมหรือหน่วยงานควบคุมหรือกำกับดูแลหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศในแต่ละด้านจัดตั้งหรือดำเนินการเพื่อให้มีศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศโดยหน่วยงานควบคุมหรือกำกับดูแลอาจจัดให้มีหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและแนวทางในการพิจารณาคุณสมบัติ และความเหมาะสมของการเป็นศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์สำหรับหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร 

การจัดตั้ง หน้าที่และอำนาจของศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

ประกาศคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ เรื่อง การจัดตั้ง หน้าที่และอำนาจของศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์แห่งชาติ พ.ศ.2564

ให้ศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์แห่งชาติจัดให้มีหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดชั้นความลับของข้อมูลต่างๆ การกำหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล และการดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาความลับ confidentiality) ความถูกต้อง (integrity) ตลอดจนความพร้อมในการใช้งาน (availability) ของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้มีการดำเนินมาตรการในด้านต่างๆ

  • มาตรการเชิงรุกเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังความเสี่ยงในการเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์
  • มาตรการเชิงรับเมื่อมีภัยคุกคามทางไซเบอร์เกิดขึ้น
  • มาตรการด้านการบริหารจัดการคุณภาพเพื่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

การฝังฟอนต์ในเอกสารของ MS Word

ทุกครั้้งที่มีการเลือกใช้ฟอนต์ที่ไม่ใช่ฟอนต์ทั่วไป หรือฟอนต์ที่มากับ windows เช่น ฟอนต์ตามประกาศราชการ TH Sarabun ควรบันทึกเอกสารพร้อมกับการฝังฟอนต์ดังกล่าวไปกับตัวเอกสารด้วยทุกครั้ง เพื่อให้ผู้เปิดสามารถทำงานกับเอกสารได้ทันที โดยไม่มีปัญหากับ “ฟอนต์” ที่อาจจะไม่มีในคอมพิวเตอร์ที่เปิดเอกสารนั้น อาจจะส่งผลให้ไฟล์เอกสารที่ต้องนำเผยแพร่ หรือใช้งานแลกเปลี่ยนกันเกิดปัญหาการแสดงผลที่ผิดพลาด รวมทั้งเป็นภาระในการหาฟอนต์มาติดตั้ง ผู้สร้างเอกสารควรใช้ความสามารถของ Microsoft Word, Microsoft PowerPoint ให้เต็มประสิทธิภาพ โดยการฝังฟอนต์ (embed font) ไปกับแฟ้มเอกสารก่อนเผยแพร่นะครับ แต่ก็น่าแปลกคำสั่งนี้มาพร้อมกับ Microsoft Office นานมากแล้วกลับพบว่ามีคนรู้จักใช้น้อยมาก ยังไงถือโอกาสนี้ใช้กันให้เป็นมาตรฐานเลยนะครับ

Read more

หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ พ.ศ. 2564

หลักเกณฑ์ฉบับปรับปรุงล่าสุด เกี่ยวกับการเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ

PDF Pic

ดาวน์โหลดเอกสาร

แนวปฏิบัติในการเตรียมไฟล์ Excel + PDF ที่ได้คุณภาพ/มาตรฐาน

ในการสร้างงานด้วยโปรแกรม Excel หรือ สเปรดชีต ที่ส่วนใหญ่จะใช้งานในการเก็บข้อมูล เพื่อคำนวณ หรือทำรายงานต่างๆ ที่มีข้อมูลหลายคอลัมน์ และรายแถว แต่ในการสร้างงานด้วย excel หรือ โปรแกรมสเปรดชีต นั้น ผุ้สร้างจะต้องคำนึงถึงแนวทางในการเก็บข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อที่จะสร้างนำข้อมูลนั้นไปใช้ต่อได้สะดวกและง่ายต่อการใช้งาน จะต้องเก็บข้อมูลแยกเป็นคอลัมน์ ไม่ควรรวมเป็นฟิลด์เดียวกัน เช่น ชื่อ เป็น 1 คอลัมน์ นามสกุล เป็นอีก 1 คอมลัมน์ เป็นต้น และเมื่อจะใช้งานค่อยนำฟังก์ชันมาช่วยในการแสดงผล หรือแบ่งไฟล์เป็นไฟล์สำหรับเก็บข้อมูล เมื่อนำเสนอก็เป็นอีก 1 ไฟล์ เป็นต้น โดยได้กำหนดแนวปฏิบัติในการเตรียมไฟล์ Excel + PDF ดังนี้